ภาษาเวียดนาม
ภาษาเวียดนาม (tiếng Việt, tiếng Việt Nam, Việt ngữ)
เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์และเป็นภาษาทางการของประเทศเวียดนาม เป็นภาษาแม่ของประชากรเวียดนามถึงร้อยละ 87 รวมถึงผู้อพยพจากเวียดนามประมาณ 2 ล้านคน และรวมถึงชาวเวียดนาม-อเมริกัน เป็นจำนวนพอสมควรด้วย ถึงแม้ว่าจะมีการยืมคำศัพท์จากภาษาจีนและเดิมใช้อักษรจีนเขียน แต่นักภาษาศาสตร์ยังคงจัดภาษาเวียดนามให้เป็นภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก ซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผู้พูดมากที่สุด (10 เท่าของภาษาที่มีจำนวนคนพูดเป็นอันดับรองลงมา
คือ ภาษาเขมร) ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวียดนามนั้น
แต่เดิมใช้ตัวเขียนจีน เรียกว่า "จื๋อญอ" ต่อมาชาวเวียดนามได้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษาเวียดนาม เรียกว่า "จื๋อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรโรมันที่พัฒนาขึ้นโดยมิชชันนารีชาวฝรั่งเศส โดยเครื่องหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต์
เรียบเรียงโดย : นางสาวจิราภรณ์ คำสร้าง รหัสนักศึกษา 56103304158 สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
คำทักทาย
Hello สวัสดี ซิน จ่าว (Xin Chao)
Thank you
ขอบคุณ กาม เอิน (Cam On)
I'm sorry/Excuse me ขอโทษ ซิน โหลย (Xin Loi)
Good night
ราตรีสวัสดิ์ จุ๊บ หงู งอน (Chuc Ngu Ngon)
Please ขอเชิญ,
กรุณา ซิน เหม่ย (Xin
Moi)
Goodbye ลาก่อน
ตาม เบียด (Tam
Biet)
See you later! ไว้พบกันใหม่ แฮน กัพ ไล (Hen Gap Lai)
คำที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ดอย หลำ (Doi
Lam) : หิวมาก
ค้าด หลำ (Khat Lam) : กระหายน้ำ
งอน หลำ (Ngon Lam) : อร่อยมาก
เนื๊อก โซย (Nuoc Da) : น้ำเปล่า (ต้ม)
เนื๊อก ดา (Nuoc Da) : น้ำแข็ง
เนื๊อก กำ ดา (Nuoc Cam Da) : น้ำแข็งเปล่า
ฉ่า ด๋า (Tra Da) : น้ำแข็งใส่น้ำชา
เฝอ (Pho) : ก๋วยเตี๋ยว
กา เฝ่ (Ca Phe) : กาแฟ
แจ่ (Che) : ชา
เบีย (Bia) : เบียร์
เกิม (Com) : ข้าวสวย
จ๋าว (Chao) : ข้าวต้ม
แบ๋งห์ หมี่ (Banh My) : ขนมปัง
โตย โอม (Toi Om) : ฉันไม่สบาย
โตย บี ดี หง่วย (Toi Bi Di Ngoai) : ฉันท้องเสีย
บี โซด (Bi Sot) : เป็นไข้
บี ยา ไย (Bi Da Day) : ปวดท้อง
แตม ทือ (Tem Thu) : แสตมป์
แซ เฮย (Xe Hoi) : รถ
ทิด บา (Thit Bo) : เนื้อวัว
หมง (Muong) : ช้อน
เหนี้ย (Nia) : ส้อม
เล่ (Ly) : แก้วน้ำ
ตำ เสีย รัง (Tam Xia Rang) : ไม้จิ้มฟัน
เอิ้ก (Ot) : พริก
เนื้อก ม้าม (Nuoc Mam) : น้ำปลา
เย่ เล่า หมิง (Giac Lau Mieng) : กระดาษทิชชู่
ค้าด หลำ (Khat Lam) : กระหายน้ำ
งอน หลำ (Ngon Lam) : อร่อยมาก
เนื๊อก โซย (Nuoc Da) : น้ำเปล่า (ต้ม)
เนื๊อก ดา (Nuoc Da) : น้ำแข็ง
เนื๊อก กำ ดา (Nuoc Cam Da) : น้ำแข็งเปล่า
ฉ่า ด๋า (Tra Da) : น้ำแข็งใส่น้ำชา
เฝอ (Pho) : ก๋วยเตี๋ยว
กา เฝ่ (Ca Phe) : กาแฟ
แจ่ (Che) : ชา
เบีย (Bia) : เบียร์
เกิม (Com) : ข้าวสวย
จ๋าว (Chao) : ข้าวต้ม
แบ๋งห์ หมี่ (Banh My) : ขนมปัง
โตย โอม (Toi Om) : ฉันไม่สบาย
โตย บี ดี หง่วย (Toi Bi Di Ngoai) : ฉันท้องเสีย
บี โซด (Bi Sot) : เป็นไข้
บี ยา ไย (Bi Da Day) : ปวดท้อง
แตม ทือ (Tem Thu) : แสตมป์
แซ เฮย (Xe Hoi) : รถ
ทิด บา (Thit Bo) : เนื้อวัว
หมง (Muong) : ช้อน
เหนี้ย (Nia) : ส้อม
เล่ (Ly) : แก้วน้ำ
ตำ เสีย รัง (Tam Xia Rang) : ไม้จิ้มฟัน
เอิ้ก (Ot) : พริก
เนื้อก ม้าม (Nuoc Mam) : น้ำปลา
เย่ เล่า หมิง (Giac Lau Mieng) : กระดาษทิชชู่
แหล่งที่มา :
เรียบเรียงโดย : นางสาวจิราภรณ์ คำสร้าง รหัสนักศึกษา 56103304158 สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น